ผักชะอมเพื่อสุขภาพ
ผักชะอมเพื่อสุขภาพ
ประโยชน์ของชะอม
1. ช่วยต่อต้านสารอนุมูลอิสระ เนื่องจากมีวิตามินเอสูง
2. ยอดชะอมช่วยลดความร้อนภายในร่างกายได้
3. รสมันของชะอม มีสรรพคุณเป็นยาอายุวัฒนะ
4. ช่วยในการขับถ่าย ป้องกันโรคท้องผูก ช่วยให้ระบบทางเดินอาหารทำงานได้เป็นปกติ
5. รากชะอมนำมาฝนกิน สามารถช่วยแก้อาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ และช่วยขับลมในลำไส้ได้
6. สรรพคุณพิเศษของชะอมที่มีส่วนช่วยในการบำรุงเส้นเอ็น แก้อาการลิ้นอักเสบเป็นผื่นแดง
2. ยอดชะอมช่วยลดความร้อนภายในร่างกายได้
3. รสมันของชะอม มีสรรพคุณเป็นยาอายุวัฒนะ
4. ช่วยในการขับถ่าย ป้องกันโรคท้องผูก ช่วยให้ระบบทางเดินอาหารทำงานได้เป็นปกติ
5. รากชะอมนำมาฝนกิน สามารถช่วยแก้อาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ และช่วยขับลมในลำไส้ได้
6. สรรพคุณพิเศษของชะอมที่มีส่วนช่วยในการบำรุงเส้นเอ็น แก้อาการลิ้นอักเสบเป็นผื่นแดง
โทษของชะอม
1. สำหรับคุณแม่ที่เพิ่งคลอดบุตรอ่อนๆ ไม่ควรรับประทานผักชะอม เพราะจะทำให้น้ำนมแห้งได้
2. สำหรับคุณแม่ลูกอ่อน จะแพ้กลิ่นของผักชะอมอย่างมาก ดังนั้นควรอยู่ห่างๆ
3. การรับประทานผักชะอมในช่วงหน้าฝน อาจจะมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุน บางครั้งอาจทำให้มีอาการปวดท้องได้ ซึ่งปกติคนมักนิยมรับประทานผักชะอมกันในช่วงหน้าร้อน
4. กรดยูริกเป็นตัวการที่ทำให้เกิดข้ออักเสบในผู้ป่วยโรคเกาต์ ซึ่งเกิดมาจากสารพิวรีน (Purine) โดยผักชะอมนั้นก็มีสารพิวรีนในระดับปานกลางถึงระดับสูง ผู้ป่วยโรคเกาต์สามารถรับประทานได้ แต่ควรรับประทานในปริมาณที่จำกัด หากเป็นมากก็ไม่ควรรับประทาน เพราะจะทำให้ปวดกระดูกได้ 5. อาจพบเชื้อก่อโรคอย่าง ซาลโมเนลลา (Salmonella) ซึ่งเป็นเชื้อที่สามารถพบได้ทั่วไปในสภาพแวดล้อม เช่น ดิน น้ำ อากาศ เมื่อเรานำผักชะอมที่ปนเปื้อนสารชนิดนี้มาประกอบอาหารโดยไม่ล้างทำความสะอาดหลายๆ ครั้ง หรือไม่นำมาปรุงให้สุกก่อนรับประทาน อาจมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อชนิดได้ โดยผู้ที่ได้รับเชื้อชนิดอาจจะมีอาการท้องเสีย ปวดท้อง ถ่ายเหลวเป็นน้ำสีเสียว หรือถ่ายเป็นมูกมีเลือดปน มีไข้ เป็นต้น
2. สำหรับคุณแม่ลูกอ่อน จะแพ้กลิ่นของผักชะอมอย่างมาก ดังนั้นควรอยู่ห่างๆ
3. การรับประทานผักชะอมในช่วงหน้าฝน อาจจะมีรสเปรี้ยว กลิ่นฉุน บางครั้งอาจทำให้มีอาการปวดท้องได้ ซึ่งปกติคนมักนิยมรับประทานผักชะอมกันในช่วงหน้าร้อน
4. กรดยูริกเป็นตัวการที่ทำให้เกิดข้ออักเสบในผู้ป่วยโรคเกาต์ ซึ่งเกิดมาจากสารพิวรีน (Purine) โดยผักชะอมนั้นก็มีสารพิวรีนในระดับปานกลางถึงระดับสูง ผู้ป่วยโรคเกาต์สามารถรับประทานได้ แต่ควรรับประทานในปริมาณที่จำกัด หากเป็นมากก็ไม่ควรรับประทาน เพราะจะทำให้ปวดกระดูกได้ 5. อาจพบเชื้อก่อโรคอย่าง ซาลโมเนลลา (Salmonella) ซึ่งเป็นเชื้อที่สามารถพบได้ทั่วไปในสภาพแวดล้อม เช่น ดิน น้ำ อากาศ เมื่อเรานำผักชะอมที่ปนเปื้อนสารชนิดนี้มาประกอบอาหารโดยไม่ล้างทำความสะอาดหลายๆ ครั้ง หรือไม่นำมาปรุงให้สุกก่อนรับประทาน อาจมีความเสี่ยงที่จะได้รับเชื้อชนิดได้ โดยผู้ที่ได้รับเชื้อชนิดอาจจะมีอาการท้องเสีย ปวดท้อง ถ่ายเหลวเป็นน้ำสีเสียว หรือถ่ายเป็นมูกมีเลือดปน มีไข้ เป็นต้น
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น